1.เปิดภาพที่ต้องการตกแต่งขึ้นมาโดยคลิกที่ File > Open > เลือกรูปที่ต้องการขึ้นมา
2.ทำการคัดลอก layer จากรูปภาพต้นฉบับโดยกด Ctrl + J
3.ปลดล็อก layer ต้นฉบับด้วยการดับเบิลคลิกที่ layer แล้วคลิก ok
4.คลิก layer1 เพื่อที่จะทำให้เป็นภาพขาวดำเมื่อคลิกที่ layer1 แล้ว ก็ไปที่ Image >Adjustments >Desaturate ก็จะได้ภาพขาวดำตามต้องการ
5.ใช้เครื่องมือ Polygonal lasso Tool ครอบรอบจุดที่ต้องการจะให้เป็นสี
6.เมื่อใช้เครื่องมือPolygonal lasso Tool ครอบรอบจุดที่ต้องการให้เป็นสีเรียบร้อยแล้วก็กด Delete จากนั้นก็จะเกิดความแตกต่างของภาพ
วันอังคารที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2553
วันจันทร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
1. VARCHAR (ย่อมาจาก Variable Character Field อ่านว่า วาร์คาร์ หรือ วาร์ชาร์) หมายถึงกลุ่มข้อมูลตัวอักขระที่ไม่สามารถระบุความยาวได้ คำนี้มักใช้เป็นชนิดข้อมูลในระบบจัดการฐานข้อมูล ชนิดข้อมูลประเภท varchar สามารถเก็บข้อมูลตัวอักขระขนาดเท่าใดก็ได้ที่ไม่เกินความยาวที่จำกัดไว้ การจำกัดความยาวก็แตกต่างกันออกไปในแต่ละฐานข้อมูล
2. TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น
3. TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ
4. DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD
5. SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
6. MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
7. INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
8. BIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)
9. FLOAT[(M,D)] : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต
10. DOUBLE[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
11. DECIMAL[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง
12. DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS
13. TIMESTAMP[(M)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8
14. TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS
15. YEAR[(2/4)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069
16. CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ
17. TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์
18. TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร
19. BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64
20. KBMEDIUMBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB
21. MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร
22. LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB
23. LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
24. SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า
25. ENUM(Enumeration) : หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่
26. BINARYระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
27. BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)
28. VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์
2. TINYINT : สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติมในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น
3. TEXT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่สามารถเก็บได้มากขึ้น โดยสูงสุดคือ 65,535 ตัวอักษร หรือ 64KB เหมาะสำหรับเก็บข้อมูลพวกเนื้อหาต่างๆ ที่ยาวๆ
4. DATE : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ โดยเก็บได้จาก 1 มกราคม ค.ศ. 1000 ถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 โดยจะแสดงผลในรูปแบบ YYYY-MM-DD
5. SMALLINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
6. MEDIUMINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
7. INT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 32 บิต หรือสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -2147483648 ไปจนถึง 2147483647 ครับ (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 4294967295 (ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
8. BIGINT : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 64 บิต สามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ -9223372036854775808 ไปจนถึง 9223372036854775807 เลยทีเดียว (แบบคิดเครื่องหมาย)
9. FLOAT[(M,D)] : ที่กล่าวถึงไปทั้งหมด ในตระกูล INT นั้นจะเป็นเลขจำนวนเต็ม หากเราบันทึกข้อมูลที่มีเศษทศนิยม มันจะถูกปัดทันที ดังนั้นหากต้องการจะเก็บค่าที่เป็นเลขทศนิยม ต้องเลือกชนิดขอฟิลด์เป็น FLOAT โดยจะเก็บข้อมูลแบบ 32 บิต
10. DOUBLE[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่มีขนาดเป็น 64 บิต สามารถเก็บได้ตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308, 0 และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
11. DECIMAL[(M,D)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง
12. DATETIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลา โดยจะเก็บได้ตั้งแต่ 1 มกราคม ค.ศ. 1000 เวลา 00:00:00 ไปจนถึง 31 ธันวาคม ค.ศ. 9999 เวลา 23:59:59 โดยรูปแบบการแสดงผล เวลาที่ทำการสืบค้น (query) ออกมา จะเป็น YYYY-MM-DD HH:MM:SS
13. TIMESTAMP[(M)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทวันที่ และเวลาเช่นกัน แต่จะเก็บในรูปแบบของ YYYYMMDDHHMMSS หรือ YYMMDDHHMMSS หรือ YYYYMMDD หรือ YYMMDD แล้วแต่ว่าจะระบุค่า M เป็น 14, 12, 8
14. TIME : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทเวลา มีค่าได้ตั้งแต่ -838:59:59 ไปจนถึง 838:59:59 โดยจะแสดงผลออกมาในรูปแบบ HH:MM:SS
15. YEAR[(2/4)] : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทปี ในรูปแบบ YYYY หรือ YY แล้วแต่ว่าจะเลือก 2 หรือ 4 (หากไม่ระบุ จะถือว่าเป็น 4 หลัก) โดยหากเลือกเป็น 4 หลัก จะเก็บค่าได้ตั้งแต่ ค.ศ. 1901 ถึง 2155 แต่หากเป็น 2 หลัก จะเก็บตั้งแต่ ค.ศ. 1970 ถึง 2069
16. CHAR : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร แบบที่ถูกจำกัดความกว้างเอาไว้คือ 255 ตัวอักษร ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้เหมือนกับ VARCHAR หากทำการสืบค้นโดยเรียงตามลำดับ
17. TINYBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี ได้แก่ ไฟล์ข้อมูลต่างๆ, ไฟล์รูปภาพ, ไฟล์มัลติมีเดีย เป็นต้น คือไฟล์อะไรก็ตามที่อัพโหลดผ่านฟอร์มอัพโหลดไฟล์ในภาษา HTML โดย TINYBLOB นั้นจะมีเนื้อที่ให้เก็บข้อมูลได้ 256 ไบต์
18. TINYTEXT : ในกรณีที่ข้อความยาวๆ หรือต้องการที่จะค้นหาข้อความ โดยอาศัยฟีเจอร์ FULL TEXT SEARCH ของ MySQL เราอาจจะเลือกที่จะไม่เก็บข้อมูลลงในฟิลด์ประเภท VARCHAR ที่มีข้อจำกัดแค่ 256 ตัวอักษร แต่เราจะเก็บลงฟิลด์ประเภท TEXT แทน โดย TINYTEXT นี้ จะสามารถเก็บข้อมูลได้ 256 ตัวอักษร
19. BLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่สามารถเก็บข้อมูลได้ 64
20. KBMEDIUMBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 16MB
21. MEDIUMTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 16,777,215 ตัวอักษร
22. LONGBLOB : สำหรับเก็บข้อมูลประเภทไบนารี เช่นเดียวกับ TINYBLOB แต่เก็บข้อมูลได้ 4GB
23. LONGTEXT : เก็บข้อมูลประเภทตัวอักษร เช่นเดียวกับ TINYTEXT แต่เก็บข้อมูลได้ 4,294,967,295 ตัวอักษร
24. SET : สำหรับเก็บข้อมูลที่เป็นกลุ่มของข้อมูลที่ยอมให้เลือกได้ 1 ค่าหรือหลายๆ ค่า ซึ่งสามารถกำหนดได้ถึง 64 ค่า
25. ENUM(Enumeration) : หมายถึงเซตของข้อมูลชุดหนึ่งที่มีจำนวนสมาชิกที่กำหนดไว้แน่นอนและทราบค่าทุกตัว ซึ่งมักจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะคงที่
26. BINARYระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
27. BOOL คือข้อมูลที่มีค่าเป็นจริง (True) หรือเท็จ (False)
28. VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์
วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2552
การติดตั้ง Appserv 2.5.9
ทำการดาวน์โหลดโปรแกรม Appserv 2.5.9 จาก http://kitt.kvc.ac.th แล้วทำการ Save โปรแกรมลงเครื่องคอมฯ แล้วทำการติดตั้งโปรแกรมโดยดับเบิ้ลคลิกที่ Appserv 2.5.9 ที่ได้ทำการดาวน์โหลดมา
จากนั้นเราก็จะเข้าสู่หน้าจอ Welcome to Appserv 2.5.9 เราก็คลิก Next เพื่อไปสู่หน้าต่อไปที่เป็นการ
บอกเกี่ยวกับลิขสิทธิ์และเงื่อนไขในการติดตั้งโปรแกรมหากยอมรับในเงื่อนไขหรือลิขสิทธิ์ก็ คลิก I Agree เพื่อทำการยอมรับเงื่อนไข จากนั้นโปรแกรมจะถามว่าต้องการจัดเก็บโปรแกรมไว้ที่ไดร์ฟใดจากนั้นก็คลิก Next จากนั้นจะปรากฎจอภาพที่ให้เลือก Package โดยเราจะทำเครื่องหมายถูกไว้ข้างหน้ารายการที่เลือกทั้งหมดเนื่องจากมีความสัมพันธ์กันจากนั้นคลิก Next เพื่อเข้าสู่หน้าต่อไป ซึ่งจะมีหน้าจอขึ้นมาเพื่อให้ใส่ข้อมูลเกี่ยวกับ web server โดยให้ระบุ localhost ไว้ในช่องที่ 1 ส่วนช่องที่ 2 ให้ใส่ E-mail แล้วคลิก Next จากนั้นก็จะมีหน้าจอเพื่อให้เราใส่ password เมื่อใส่ password เสร็จ ก็คลิกปุ่ม Install
เป็นอันเสร็จสิ้น
จากนั้นเราก็จะเข้าสู่หน้าจอ Welcome to Appserv 2.5.9 เราก็คลิก Next เพื่อไปสู่หน้าต่อไปที่เป็นการ
บอกเกี่ยวกับลิขสิทธิ์และเงื่อนไขในการติดตั้งโปรแกรมหากยอมรับในเงื่อนไขหรือลิขสิทธิ์ก็ คลิก I Agree เพื่อทำการยอมรับเงื่อนไข จากนั้นโปรแกรมจะถามว่าต้องการจัดเก็บโปรแกรมไว้ที่ไดร์ฟใดจากนั้นก็คลิก Next จากนั้นจะปรากฎจอภาพที่ให้เลือก Package โดยเราจะทำเครื่องหมายถูกไว้ข้างหน้ารายการที่เลือกทั้งหมดเนื่องจากมีความสัมพันธ์กันจากนั้นคลิก Next เพื่อเข้าสู่หน้าต่อไป ซึ่งจะมีหน้าจอขึ้นมาเพื่อให้ใส่ข้อมูลเกี่ยวกับ web server โดยให้ระบุ localhost ไว้ในช่องที่ 1 ส่วนช่องที่ 2 ให้ใส่ E-mail แล้วคลิก Next จากนั้นก็จะมีหน้าจอเพื่อให้เราใส่ password เมื่อใส่ password เสร็จ ก็คลิกปุ่ม Install
เป็นอันเสร็จสิ้น
วันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2552
1.databaseหมายถึง ฐานข้อมูล ชุดของข้อมูลที่รวมเอาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันเป็นเรื่องราวเดียวกันรวมกันเป็นกลุ่มหรือเป็นชุดข้อมูล เช่น ฐานข้อมูลนิสิต ฐานข้อมูลค้า และ ฐานข้อมูลวิชาเรียน เป็นต้น
2.DBMS (data base management system)หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้ หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย
3.Database Administrators : DBAsหมายถึง บุคลากรที่ทำหน้าที่บริการและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทั้งหมดเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใช้ข้อมูล กำหนดระบบวิธีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การสร้างระบบข้อมูลสำรอง การกู้และประสานงานกับผู้ใช้ว่ามีความต้องการใช้ข้อมูลอย่างไร รวมถึงการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ เพื่อให้นักเขียนโปรแกรมนำไปเขียนโปรแกรมที่ใช้ในการบริหารงานระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.Database Developmentหมายถึงนักวิจัยผู้ที่ทำงานด้านวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งในและนอกสถาบันการศึกษา
5.Data Definition Language : DDLเป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา (Schema)
6.Data Interrogationความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล
7.Graphical and Natural Queriesผู้ใช้หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์แปลให้เป็นคำสั่ง SQL หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นที่อาจใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่คล้ายกับการสนทนาภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ
8.Application Developmentโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูลมีบทบาทหลักในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
9.Data Manipulation Language : DMLการจัดการข้อมูลหมายถึง การเพิ่มข้อมูลใหม่ลงในฐานข้อมูล, การลบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานข้อมูล, การเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลในฐานข้อมูล และการค้นคืนข้อมูลจากฐานข้อมูล
10.Subject Area Database : SADBฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย ฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง
11.Analytical Databaseเก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
12.Multidimensional Databaseเป็นฐานข้อมูลที่เข้าถึงโดยระบบประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบต่อตรง
13Data Warehousesเก็บข้อมูลปัจจุบันและปีก่อนๆ โดยดึงจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร เป็นแหล่งข้อมูลส่วนกลางที่ได้ถูกคัดเลือก แก้ไข จัดมาตรฐาน และรวบรวมเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ธุรกิจ การวิจัยตลาด และสนับสนุนการตัดสินใจ
14.Distributed Databasesฐานข้อมูลแบบกระจาย หลายๆ องค์กรทำซ้ำ และกระจายสำเนา หรือบางส่วนของฐานข้อมูลไปยังแม่ข่ายเครือข่ายหลายๆ สถานที่
15.End User Databasesฐานข้อมูลผู้ใช้ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ
16.Fieldเป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว
17.Recordจะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
18.Tableจะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19.Entityเป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า
20.InfraStucture Managementหมายถึงการจัดการโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครือ การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้ออำนวยให้เกิดความเจริญเติบโตต่างๆทั้งในด้านนโยบายและด้านกายภาพ เช่น
2.DBMS (data base management system)หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้ หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย
3.Database Administrators : DBAsหมายถึง บุคลากรที่ทำหน้าที่บริการและควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูล ทั้งหมดเป็นผู้ตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลอะไรเข้าในระบบ จัดเก็บโดยวิธีใด เทคนิคการเรียกใช้ข้อมูล กำหนดระบบวิธีการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล การสร้างระบบข้อมูลสำรอง การกู้และประสานงานกับผู้ใช้ว่ามีความต้องการใช้ข้อมูลอย่างไร รวมถึงการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ เพื่อให้นักเขียนโปรแกรมนำไปเขียนโปรแกรมที่ใช้ในการบริหารงานระบบฐานข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.Database Developmentหมายถึงนักวิจัยผู้ที่ทำงานด้านวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ทั้งในและนอกสถาบันการศึกษา
5.Data Definition Language : DDLเป็นภาษาที่ใช้กำหนดโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลของฐานข้อมูล ซึ่งโครงสร้างข้อมูลหรือนิยามข้อมูลสามารถเรียกได้อีกอย่างว่า สกีมา (Schema)
6.Data Interrogationความสามารถในการสืบค้นฐานข้อมูลเป็นผลประโยชน์หลักของระบบจัดการฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลสำหรับการขอสารสนเทศจากฐานข้อมูล
7.Graphical and Natural Queriesผู้ใช้หลายรายลำบากที่จะแก้ไขวลีของ SQL และคำถามภาษาฐานข้อมูลอื่นๆ ดังนั้นโปรแกรมสำเร็จรูปฐานข้อมูลส่วนใหญ่จึงเสนอวิธีการชี้และคลิกส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Graphical User Interface : GUI) ซึ่งง่ายต่อการใช้และใช้ซอฟต์แวร์แปลให้เป็นคำสั่ง SQL หรือโปรแกรมสำเร็จรูปอื่นที่อาจใช้ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ที่คล้ายกับการสนทนาภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นๆ
8.Application Developmentโปรแกรมสำเร็จรูประบบจัดการฐานข้อมูลมีบทบาทหลักในการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
9.Data Manipulation Language : DMLการจัดการข้อมูลหมายถึง การเพิ่มข้อมูลใหม่ลงในฐานข้อมูล, การลบข้อมูลที่มีอยู่ในฐานข้อมูล, การเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลในฐานข้อมูล และการค้นคืนข้อมูลจากฐานข้อมูล
10.Subject Area Database : SADBฐานข้อมูลซับเจ็กแอเรีย ฐานข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง
11.Analytical Databaseเก็บข้อมูลและสารสนเทศที่ดึงมาจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการและฐานข้อมูลภายนอก ประกอบด้วยข้อมูลสรุปและสารสนเทศที่จำเป็นต่อผู้จัดการองค์กรและผู้ใช้
12.Multidimensional Databaseเป็นฐานข้อมูลที่เข้าถึงโดยระบบประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบต่อตรง
13Data Warehousesเก็บข้อมูลปัจจุบันและปีก่อนๆ โดยดึงจากฐานข้อมูลเชิงปฏิบัติการต่างๆ ขององค์กร เป็นแหล่งข้อมูลส่วนกลางที่ได้ถูกคัดเลือก แก้ไข จัดมาตรฐาน และรวบรวมเพื่อใช้สำหรับการวิเคราะห์ธุรกิจ การวิจัยตลาด และสนับสนุนการตัดสินใจ
14.Distributed Databasesฐานข้อมูลแบบกระจาย หลายๆ องค์กรทำซ้ำ และกระจายสำเนา หรือบางส่วนของฐานข้อมูลไปยังแม่ข่ายเครือข่ายหลายๆ สถานที่
15.End User Databasesฐานข้อมูลผู้ใช้ ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลต่างๆ ที่พัฒนาโดยผู้ใช้ที่สถานีปลายทาง เช่น ผู้ใช้อาจจะมีเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หลายๆ สำเนาที่ได้ดาวน์โหลดจาก World Wide Web จากโปรแกรมสำเร็จรูปประมวลผลคำ
16.Fieldเป็นหน่วยข้อมูลที่ประกอบมาจากอักขระต่าง ๆ หลายอักขฟระ เช่น ชื่อ ที่อยู่ ที่ประกอบด้วยอักขระหลาย ๆ ตัว
17.Recordจะเป็นการนำฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์มาร่วมกัน เช่น เรคอร์ดลฟูกค้า ก็จะเก็บฟิลด์ข้อมูลของลูกค้าทั้งหมดที่ประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หรือ หมายเลขโทรศัพท์ เป็นต้น
18.Tableจะเป็นการนำเรคอร์ดหลาย ๆ เรคอร์ดมารวมกัน เช่น ตารางลูกค้า จะประกอบด้วยเรอร์ดของลูกค้าที่เป็นลูกค้าแต่ละราย
19.Entityเป็นคำที่อ้างอิงถึง บุคคล สถานที่ และสิ่งของต่าง ๆ เช่น สินค้า ใบสั่งซื้อ และลูกค้า เป็นต้น ถ้าเราสนใจในการสร้างระบบฐานข้อมูลการสั่งซื้อสินค้า
20.InfraStucture Managementหมายถึงการจัดการโครงสร้างพื้นฐานของระบบเครือ การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้ออำนวยให้เกิดความเจริญเติบโตต่างๆทั้งในด้านนโยบายและด้านกายภาพ เช่น
วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552
คำศัพท์
1) Speed (สปีด) ความเร็ว
2) Components (เคิมโพเนินท์) ส่วนประกอบ
3) Power (เพาเออร์) กำลังความสามารถ
4) Communicate (คอมมูนิเคท์) ติดต่อ
5) other (อัธเธอร์) อื่นๆ
6) Controller (เคินโทรเลอร์) ผู้ควบคุม
7) Memory (เมมโมรี) หน่วยความจำ
8) Actual (แอคชวล) แท้จริง
9) Opreate (ออพพะเรท) ปฏิบัติการ
10) Connect (คอนเนคท์) สัมพันธ์
11) Standards (สแตนเดิร์ด) กำหนด
12) Shape (เชพ) ทรวดทรง
13) System (ซิสเติม) ระบบ
14) Time (ไทม์) วลา
15) Mind (ไมนด์) ความทรงจำ
16) Then (เธน) ดังนั้น
17) Data (ดาทะ) ข้อมูล
18) Information (อินฟอร์เมชัน) ข้อมูลข่าวสาร
19) Next (เนคซ์) ถัดไป
20) Shopper (ชอพเพอร์) ผู้บริโภค
21) Place (เพลซ) สถานที่
22) Processor (พรอซเซซเซอร์) เครื่องประมวลผล
23) Faster (เฟสเธอ) เร็วขึ้น
24) Slow (สโล) ช้า
25) Amount (อะเมานท์) จำนวนรวม
26) About (อะเบาท์) ในเรื่อง
27) Independent (อินดิเพนเดินท์) เป็นกลาง
28) Port (พอร์ต) ช่องทาง
29) Error (เอเรอร์) ผิดพลาด
30) Settings (เซททิง) การตั้งค่า
31) Provides (พระไวด์) ให้บริการ
32) Fit (ฟิต) เข้ารูป,พอดี
33) Network (เนคเวิร์ค) เครือข่าย
34) Well (วิล) ดี
35) Check (เชค) ตรวจสอบ
36) Kind (ไคนด์) ประเภท
37) Advances (แอดแวนซ์) ก้าวหน้า,ขั้นสูง
38) Itself (อิทเซลท์) ตัวเอง
39) Enhances (เอนแฮนเชส) ช่วยเพิ่ม
40) Job (จอป) ชิ้นงาน
41) Plugged (พลักเก็ต) เชื่อม
42) Equipment (อิควิพเมินท์) เครื่องมือ
43) Everything (เอฟว์รีธิง) ทุกสิ่งทุกอย่าง
44) Another (อะนัธเธอร์) อีกอย่างหนึ่ง
45) Receive (ริซีฟว์) ได้รับ
46) Boast (โบซท์) การาคุยโอ้อวด
47) General (เจนเนอเริล) โดยทั้วไป
48) Years (เยียร์) ปี
49) Basic (เบสิค) ขั้นพื้นฐาน
50) Updating (อัพเดท) ปรับปรุงเพื่อให้ทันสมัย
2) Components (เคิมโพเนินท์) ส่วนประกอบ
3) Power (เพาเออร์) กำลังความสามารถ
4) Communicate (คอมมูนิเคท์) ติดต่อ
5) other (อัธเธอร์) อื่นๆ
6) Controller (เคินโทรเลอร์) ผู้ควบคุม
7) Memory (เมมโมรี) หน่วยความจำ
8) Actual (แอคชวล) แท้จริง
9) Opreate (ออพพะเรท) ปฏิบัติการ
10) Connect (คอนเนคท์) สัมพันธ์
11) Standards (สแตนเดิร์ด) กำหนด
12) Shape (เชพ) ทรวดทรง
13) System (ซิสเติม) ระบบ
14) Time (ไทม์) วลา
15) Mind (ไมนด์) ความทรงจำ
16) Then (เธน) ดังนั้น
17) Data (ดาทะ) ข้อมูล
18) Information (อินฟอร์เมชัน) ข้อมูลข่าวสาร
19) Next (เนคซ์) ถัดไป
20) Shopper (ชอพเพอร์) ผู้บริโภค
21) Place (เพลซ) สถานที่
22) Processor (พรอซเซซเซอร์) เครื่องประมวลผล
23) Faster (เฟสเธอ) เร็วขึ้น
24) Slow (สโล) ช้า
25) Amount (อะเมานท์) จำนวนรวม
26) About (อะเบาท์) ในเรื่อง
27) Independent (อินดิเพนเดินท์) เป็นกลาง
28) Port (พอร์ต) ช่องทาง
29) Error (เอเรอร์) ผิดพลาด
30) Settings (เซททิง) การตั้งค่า
31) Provides (พระไวด์) ให้บริการ
32) Fit (ฟิต) เข้ารูป,พอดี
33) Network (เนคเวิร์ค) เครือข่าย
34) Well (วิล) ดี
35) Check (เชค) ตรวจสอบ
36) Kind (ไคนด์) ประเภท
37) Advances (แอดแวนซ์) ก้าวหน้า,ขั้นสูง
38) Itself (อิทเซลท์) ตัวเอง
39) Enhances (เอนแฮนเชส) ช่วยเพิ่ม
40) Job (จอป) ชิ้นงาน
41) Plugged (พลักเก็ต) เชื่อม
42) Equipment (อิควิพเมินท์) เครื่องมือ
43) Everything (เอฟว์รีธิง) ทุกสิ่งทุกอย่าง
44) Another (อะนัธเธอร์) อีกอย่างหนึ่ง
45) Receive (ริซีฟว์) ได้รับ
46) Boast (โบซท์) การาคุยโอ้อวด
47) General (เจนเนอเริล) โดยทั้วไป
48) Years (เยียร์) ปี
49) Basic (เบสิค) ขั้นพื้นฐาน
50) Updating (อัพเดท) ปรับปรุงเพื่อให้ทันสมัย
วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2552
แบบฝึกหัดบทที่ 6
1)ส่วนปรพกอบและปุ่มต่างๆ
ตอบ
1 คือ เฟรม ที่ใช้แสดงลำดับภาพนิ่งแต่ละส่วน
2 คือ ตัวกำหนดเวลาในการแสดงผล (ยิ่งน้อย ยิ่งดูคลาสิก)
3 คือ ปุ่มควบคุมการวนซ้ำ ถ้า Forever คือวนรอบไปเรื่อยๆ ถ้าวนรอบ 1 รอบใช้ Once
4 คือ ปุ่มควบคุม ที่ใช้แสดงตัวอย่างของภาพ Animation หรือจะกระโดดไปที่ดฟรมอื่นๆ ตามที่ต้องการใช้
5 คือ ปุ่มสร้างภาพ Animation อย่างต่อเนื่อง ที่โปรแกรมคำนวณเฟรมอยู่ระหว่างเฟรมเริ่มต้นและเฟรมสุดท้าย
6 คือ ปุ่มสร้างเฟรมใหม่ ซึ่งจะใช้เมื่อต้องการสร้างรูปแบบการเคลื่อนไหวใหม่ๆ เข้าไป
7 คือ ปุ่มลบเฟรม เอาไว้ลบเฟรมที่ไม่ต้องการทิ้งไป
1 คือ เฟรม ที่ใช้แสดงลำดับภาพนิ่งแต่ละส่วน
2 คือ ตัวกำหนดเวลาในการแสดงผล (ยิ่งน้อย ยิ่งดูคลาสิก)
3 คือ ปุ่มควบคุมการวนซ้ำ ถ้า Forever คือวนรอบไปเรื่อยๆ ถ้าวนรอบ 1 รอบใช้ Once
4 คือ ปุ่มควบคุม ที่ใช้แสดงตัวอย่างของภาพ Animation หรือจะกระโดดไปที่ดฟรมอื่นๆ ตามที่ต้องการใช้
5 คือ ปุ่มสร้างภาพ Animation อย่างต่อเนื่อง ที่โปรแกรมคำนวณเฟรมอยู่ระหว่างเฟรมเริ่มต้นและเฟรมสุดท้าย
6 คือ ปุ่มสร้างเฟรมใหม่ ซึ่งจะใช้เมื่อต้องการสร้างรูปแบบการเคลื่อนไหวใหม่ๆ เข้าไป
7 คือ ปุ่มลบเฟรม เอาไว้ลบเฟรมที่ไม่ต้องการทิ้งไป
2) อธิบายวิธีการสร้างตัวอักษรเคลื่อนไหวแบบ Fade
ตอบ
1 สร้างไฟล์ขนาด 250*89 pixel, Resolution 72, Mode RGB, Backgroud Write
2 เลือกเครื่องมือ Type Tool จากนั้นคลิกพิมพ์ข้อความ
3 ให้ทำการคัดลอกเลเยอร์ ( Duplicate layer)จนครบอีก 3 อัน และทำการแก้ไขในแต่ละเลเยอร์
4 ไปที่เมนู Windows ---Animation เพื่อทำการเรียกเมนูเคลื่อนไหวออกมา
5 ทำการคัดลอกเฟรมให้ได้ 4 เฟรม โดยไปที่ปุ่ม Duplicates Select Frames
6 กำหนดเวลาทุกเฟรม โดยกด (Shift+คลิกแต่ละเฟรมX) จากนั้นไปที่มุมเวลาเฟรมสุดท้ายคลิกแล้วจะปรากฏเวลาขึ้นมาให้เลือก เลือก 1 วินาที
1 สร้างไฟล์ขนาด 250*89 pixel, Resolution 72, Mode RGB, Backgroud Write
2 เลือกเครื่องมือ Type Tool จากนั้นคลิกพิมพ์ข้อความ
3 ให้ทำการคัดลอกเลเยอร์ ( Duplicate layer)จนครบอีก 3 อัน และทำการแก้ไขในแต่ละเลเยอร์
4 ไปที่เมนู Windows ---Animation เพื่อทำการเรียกเมนูเคลื่อนไหวออกมา
5 ทำการคัดลอกเฟรมให้ได้ 4 เฟรม โดยไปที่ปุ่ม Duplicates Select Frames
6 กำหนดเวลาทุกเฟรม โดยกด (Shift+คลิกแต่ละเฟรมX) จากนั้นไปที่มุมเวลาเฟรมสุดท้ายคลิกแล้วจะปรากฏเวลาขึ้นมาให้เลือก เลือก 1 วินาที
3) อธิบายวิธีการสร้าง Gallery ภาพถ่ายให้กับเว็บไซต์
ตอบ
1 สร้างโฟลเดอร์ไว้สำหรับเก็บไฟล์ที่ต้องการ
2 สร้างไฟล์ขนาด 400 pixels*300 pixels แล้วเก็บไว้ในโฟลเดอร์
3 ไปที่เมนู file---Automate---Web Photo Dally--จะปรากฏดังจอภาพ
4 เลือกรูปแบบหรือสไตล์ที่ชอบ(ซึ่งจะหฃปรากฏตัวอย่างให้ดู) คลิกเลือกปุ่มโฟลเดอร์แหล่งของภาพที่สร้างไว้ (ข้อ1) คลิกเลือกเส้นทางที่จะเก็บงานที่สร้าง Gally (จะต้องไม่ซ้ำกับโฟลเดอร์แหล่งภาพ) เลือกคุณสมบัติของภาพ แล้วตอบ OK
1 สร้างโฟลเดอร์ไว้สำหรับเก็บไฟล์ที่ต้องการ
2 สร้างไฟล์ขนาด 400 pixels*300 pixels แล้วเก็บไว้ในโฟลเดอร์
3 ไปที่เมนู file---Automate---Web Photo Dally--จะปรากฏดังจอภาพ
4 เลือกรูปแบบหรือสไตล์ที่ชอบ(ซึ่งจะหฃปรากฏตัวอย่างให้ดู) คลิกเลือกปุ่มโฟลเดอร์แหล่งของภาพที่สร้างไว้ (ข้อ1) คลิกเลือกเส้นทางที่จะเก็บงานที่สร้าง Gally (จะต้องไม่ซ้ำกับโฟลเดอร์แหล่งภาพ) เลือกคุณสมบัติของภาพ แล้วตอบ OK
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)